ตะเคียนทอง
ชื่อ | ตะเคียนทอง |
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Hopea odorata Roxb. |
Author name | |
ชื่อวงศ์ | |
ชื่ออื่นๆ | ตะเคียน ตะเคียนทอง ตะเคียนใหญ่ (ภาคกลาง), จะเคียน (ภาคเหนือ), แคน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), ไพร (ละว้า เชียงใหม่), กะกี้ โกกี้ (กะเหรี่ยง เชียงใหม่), จูเค้ โซเก (กะเหรี่ยง กาญจนบุรี), จืองา (มลายู-นราธ |
ชื่อสามัญ | Iron Wood |
แหล่งอ้างอิง | Iron Wood |
การใช้ประโยชน์ | - เนื้อไม้มีความทนทาน ทนปลวกได้ดี ไสกบตบแต่งและชักเงาได้ดี ใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง ใช้ทำเครื่องเรือน สะพาน ทำเรือ วงกบประตูหน้าต่าง ชันใช้ผสมน้ำมันทาไม้ ทำน้ำมันชักเงา ใช้ยาเรือ |
สรรพคุณทางยา | - เปลือก เนื้อไม้ มีรสฝาด ใช้ฆ่าเชื้อโรค แก้อักเสบ ห้ามเลือด เปลือก รสฝาดเมา ใช้สมานแผล แก้บิดมูกเลือด แก้เหงือกอักเสบ และฆ่าเชื้อโรคในปาก แก้ลงแดง - แก่น มีรสขมหวาน รักษาคุดทะราด ขับเสมหะ แก้โลหิตและกำเดา แก้ไข้สัมประชวร (ไข้ที่เกิดจากหลายสาเหตุ มักแสดงอาการที่ตา เช่น แดง เหลือง หรือขุ่นคล้ำ เป็นต้น) - ยาง บดเป็นผงรักษาบาดแผล ชันใช้ผสมน้ำมันยางทาไม้ ทำน้ำมันชักเงา ยาแนวเรือ |
ต้น :
คำอธิบาย :
ลำต้น :
คำอธิบาย :
ใบ :
คำอธิบาย :
ดอก :
คำอธิบาย :
ผล :
คำอธิบาย :
ราก :
คำอธิบาย :