ตะแบก
ชื่อ | ตะแบก |
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Lagerstroemia calyculata |
Author name | Kurz |
ชื่อวงศ์ | ตะแบก (LYTHRACEAE) |
ชื่ออื่นๆ | |
ชื่อสามัญ | - |
แหล่งอ้างอิง | - |
การใช้ประโยชน์ | |
สรรพคุณทางยา |
ต้น :
คำอธิบาย : ต้นตะแบก จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นกึ่งผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงได้ประมาณ 15-35 เมตร เรือนยอดเป็นรูปเจดีย์ต่ำ ๆ แตกกิ่งก้านสาขาออกรอบต้น เปลือก
ลำต้น : เปลือกเรียบ
คำอธิบาย : ลำต้นเกลี้ยงเป็นสีเทาอมเหลือง หรือสีน้ำตาลอมเทา มีรอยขรุขระเป็นหลุมตื้น ๆ เกิดจากสะเก็ดแผ่นบาง ๆ ของเปลือกที่หลุดร่วงไป ดูคล้ายกับเปลือกต้นฝรั่ง แต่จะมีจุดด่างขาว ๆ อยู่ตามลำต้น ทางตอนบนของลำต้นจะค่อนข้างเรียบ ส่วนเปลือกชั้นในเป็นสีชมพูอมม่วง ซ้อนกันเป็นชั้น ๆ สลับกับชั้นลายเส้นสีขาว โคนต้นเป็นพูพอนชัดเจน ตรงส่วนที่เป็นพูพอนมักจะกลวงขึ้นไปประมาณ 3-5 เมตรจากผิวดิน ตามกิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลสาก ๆ ขึ้นหนาแน่น เนื้อไม้มีความแข็งประมาณ 628 กก. ความถ่วงจำเพาะประมาณ 0.68 ความแข็งแรงประมาณ 1,219 กก./ตร.ซม. ความเหนียวประมาณ 2.89-กก.-ม. ความดื้อประมาณ 112,700 กก.ตร.ซม. และมีความทนทานตามธรรมชาติ ตั้งแต่ 3-17 ปี เฉลี่ยประมาณ 9.4 ปี อาบน้ำยาไม้ได้ยากมาก (ชั้นที่ 5) ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด พบขึ้นในป่าราบ ป่าดงดิบ และป่าเบญจพรรณชื้นและแล้งทั่วไปทางภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-400 เมตร พบได้มากที่ป่ายุบศรีราชา (ต้นตะแบกที่ขึ้นในป่าดงดิบจะไม่ผลัดใบ)[1],[2]
ใบ :
คำอธิบาย :
ดอก :
คำอธิบาย :
ผล : ผลแห้ง
คำอธิบาย :
ราก :
คำอธิบาย :