ค้อนตีหมา (พันธุ์ไม้ปกปัก)
ชื่อ | ค้อนตีหมา (พันธุ์ไม้ปกปัก) |
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Ancistrocladus tectorius |
Author name | (Lour.) Merr. |
ชื่อวงศ์ | ANCISTROCLADACEAE |
ชื่ออื่นๆ | กระม้า (เขมร-สระบุรี), ขุนมา (เขมร-สุรินทร์), ค้อนหมาขาว (ภาคกลาง), ค้อนหมาแดง (นครราชสีมา), คันทรง (ชลบุรี), โคนมะเด็น (สุพรรณบุรี), ซินตะโกพลี (กะเหรี่ยง-ลำาปาง), ทองคันทรง (ชลบรุี), พันทรง (นราธ |
ชื่อสามัญ | - |
แหล่งอ้างอิง | - |
การใช้ประโยชน์ | 1. ใบอ่อนหรือยอดอ่อน รับประทานเป็นผักสดจิ้มกับน้ำพริกรวมกับผักอื่นๆ มีรสฝาดมัน |
สรรพคุณทางยา | 1.ใบอ่อน นำมาต้มเอาน้ำอาบเป็นยารักษาอาการบวมตามตัวและเม็ดผื่นคันตามผิวหนัง 2. รากใช้ผสมกับรากช้างน้าว นำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ปวดเมื่อย |
ต้น : ไม้เลื้อย/ไม้เถา
คำอธิบาย : ไม้เถาเลื้อยเนื้อแข็งขนาดใหญ่ ลำต้นขึ้นใหม่เป็นพุ่ม มักเลื้อยพาดพันไปตามต้นไม้อื่น
ลำต้น :
คำอธิบาย : -
ใบ : ใบเดี่ยว
คำอธิบาย : ใบเดี่ยว ออกเป็นกระจกุที่ปลายกิ่ง เรียงเวียนสลับ รูปหอกกลับ รูปรี หรือรูปขอบขนานแกมรูปหอก ปลายใบแหลม โคนใบเรียวแหลมและค่อยๆ สอบเข้าหาก้านใบ ส่วนขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่น แผ่นใบแข็งกระด้าง มีเส้นใบเชื่อมกันก่อนถึงขอบใบ ยอดอ่อนเป็นสีแดงหรือสีเขียวอมขาวอ่อนๆ
ดอก : ดอกช่อ
คำอธิบาย : ดอกเป็นช่อกระจะที่ปลายยอด แต่ละดอกจะมีขนาดเล็ก ฐานดอกเป็นสีเขียว ส่วนกลีบดอก เป็นสีขาวอมแดงถึงสีแดงคล้ำ ส่วนโคนเป็นท่อสั้นๆ แยกออกเป็น 5 กลีบ
ผล : ผลแห้ง
คำอธิบาย : ผลมีปีกอยู่ 5 ปีก ซึ่งจะมีความยาวไม่เท่ากันรองรับ แบ่งเป็นปีกเล็ก 2 ปีก และปีกใหญ่ 3 ปีก เมื่อแก่จะแห้งเป็นสีน้ำตาล
ราก :
คำอธิบาย : -