ย่านางแดง

ย่านางแดง

ชื่อ ย่านางแดง
ชื่อวิทยาศาสตร์ Lysiphyllum strychnifolia
Author name (Craib) A Schmitz
ชื่อวงศ์ FABACEAE
ชื่ออื่นๆ สยาน (ตาก, ลำปาง), เครือขยัน (ภาคเหนือ), หญ้านางแดง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), ขยัน, เถาขยัน
ชื่อสามัญ -
แหล่งอ้างอิง -
การใช้ประโยชน์
สรรพคุณทางยา เถา : บำรุงธาตุในร่างกาย บำรุงหัวใจ ดับพิษร้อน ใบ เถา และราก : แก้พิษ ถอนพิษยาเมา ยาเบื่อ ยาสั่ง ถอนพิษผิดสำแดง ขับพิษโลหิตและน้ำเหลือง แก้ท้องผูก
ต้น
ลำต้น
ใบ
ดอก
ผล
ราก

ต้น :

คำอธิบาย :

ลำต้น :

คำอธิบาย :

ใบ :

คำอธิบาย : ใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกัน ใบเป็นรูปรีแกมรูปขอบขนาน หรือรูปไข่แกมขอบขนาน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 3-7 เซนติเมตรและยาวประมาณ 6-12 เซนติเมตร ผิวใบมันเป็นสีเขียวเข้ม

ดอก :

คำอธิบาย : ดอกเป็นช่อกระจะตามปลายกิ่ง ช่อดอกมีดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกเป็นสีแดงสดมี 5 กลีบ ฐานรองดอกมีลักษณะเป็นรูประฆัง กลีบเลี้ยงสีแดง 5 กลีบ ปลายแยกเป็นแฉก 5 แฉก มีลักษณะของกลีบเลี้ยงเป็นรูปถ้วย มีขนสั้นขึ้นปกคลุม สีชมพูอ่อนหรือสีแดง

ผล :

คำอธิบาย : ผลเป็นฝัก มีลักษณะแบนรูปขอบขนาน ปลายฝักแหลม ส่วนโคนฝักเป็นมีลักษณะเป็นรูปหอก ฝักยาวประมาณ 15-16 เซนติเมตร เปลือกฝักแข็ง เมื่อแก่จะแตกอ้า ภายในฝักมีเมล็ดอยู่ประมาณ 8-9 เมล็ด ลักษณะของเมล็ดเป็นรูปขอบขนาน

ราก :

คำอธิบาย :

TOP