ปอเส้ง (พันธุ์ไม้ปกปัก)

ปอเส้ง (พันธุ์ไม้ปกปัก)

ชื่อ ปอเส้ง (พันธุ์ไม้ปกปัก)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Urena lobate
Author name L.
ชื่อวงศ์ MALVACEAE
ชื่ออื่นๆ ขมงดง (สุโขทัย), ขี้ครอก (กลาง), ชบาป่า(น่าน), ปอเส้ง (ปัตตานี), เส้ง (ใต้), หญ้าหัวยุ่ง (เหนือ)
ชื่อสามัญ -
แหล่งอ้างอิง -
การใช้ประโยชน์ -
สรรพคุณทางยา 1.ราก ใช้รับประทานเป็นยาเย็น เป็นยาดับพิษร้อนถอนพิษไข้ทั้งปวง 2.ต้นและใบ ใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาขับปัสสาวะ
ต้น
ลำต้น
ใบ
ดอก
ผล
ราก

ต้น : ไม้พุ่ม

คำอธิบาย : ไม้พุ่มสูงถึง 1.5 เมตร

ลำต้น : เปลือกเรียบ

คำอธิบาย : ลำต้นอาจมีสีม่วง

ใบ : ใบเดี่ยว

คำอธิบาย : ใบยาว 1-12 เซนติเมตร กลมถึงรูปไข่แกมขอบขนาน ขบจักร ซี่ฟัน มีขนละเอียด เส้นโคนใบ 5-9 เส้น หูใบยาว 2-4 มิลลิเมตร

ดอก : ดอกเดี่ยว

คำอธิบาย : ก้านดอกสั้น ริ้วประดับยาว 8 มิลลิเมตร ริ้วประดับกลีบเลี้ยง 5 ฉีก กลีบดอก 5 กลีบ เกสรเพศผู้ จำนวนมาก เกสรเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบดอก

ผล : ผลแห้ง

คำอธิบาย : แข็ง รูปกลม มีเส้นชัด แต่ละส่วนมี 1 เมล็ด

ราก :

คำอธิบาย : -

TOP