อบเชย
ชื่อ | อบเชย |
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Cinnamomum iners Reinw.ex.Bl. |
Author name | |
ชื่อวงศ์ | |
ชื่ออื่นๆ | เชียด มหาปราบตัวผู้ อบเชย อบเชยต้น (ภาคกลาง) กระแจะโมง กะเชียด กะทังนั้น (ยะลา) กะดังงา (กาญจนบุรี) กะพังหัน โกเล่ เนอม้า (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) เขียด เคียด เฉียด ชะนุต้น (ภาคใต้) ดิ๊กซี่สอ (กะเหรี่ยง- |
ชื่อสามัญ | Wild cinnamom |
แหล่งอ้างอิง | Wild cinnamom |
การใช้ประโยชน์ | - เปลือกต้น ใช้ทำอาหารและเบเกอรี่ด้วยมีกลิ่นหอม อบเชย จึงถูกนำมาแต่งกลิ่นและเป็นเครื่องเทศในอาหารมากมาย ใช้ในรูปแบบทั้งที่เป็นก้าน บดเป็นผง หรือนำไปทำเป็นน้ำตาลกลิ่นอบเชย - มีความสำคัญในฐานะ พืชเศรษฐกิจ ด้วยคุณประโยชน์ทั้งด้านการใช้ทำอาหารและเบเกอรี่ รวมถึงรักษาโรคต่าง ๆ ได้มากมาย ทำให้ อบเชยกลายเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง |
สรรพคุณทางยา | - เปลือกต้น ต้ม ดื่มแก้ตับอักเสบ อาหารไม่ย่อย แก้ท้องเสีย ลำไส้เล็กทำงานผิดปกติ ขับพยาธิ มีสรรพคุณบำรุงดวงจิต แก้อ่อนเพลีย ชูกำลัง ขับผายลม บำรุงธาตุ แก้บิด แก้ลมอัณฑพฤกษ์ แก้ไข้สันนิบาต ใช้ปรุงเป็นยานัตถุ์แก้ปวดหัว รับประทานแก้เบื่ออาหาร แก้จุกเสียด แน่นท้อง อาหารไม่ย่อย แก้ไอ แก้ไข้หวัด ลำไส้อักเสบ ท้องเสียในเด็ก อาการหวัด ปวดปะจำเดือน แก้อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน แก้ปวดประจำเดือน ห้ามเลือด บดเป็นผงโรยแผลกามโรค สมานแผล |
ต้น :
คำอธิบาย :
ลำต้น :
คำอธิบาย :
ใบ :
คำอธิบาย :
ดอก :
คำอธิบาย :
ผล :
คำอธิบาย :
ราก :
คำอธิบาย :