ขี้หนอน (พันธุ์ไม้ปกปัก)
ชื่อ | ขี้หนอน (พันธุ์ไม้ปกปัก) |
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Chaetocarpus castanocarpus |
Author name | (Roxb.) Thwaites |
ชื่อวงศ์ | PERACEAE |
ชื่ออื่นๆ | ขี้หนอนขาว, อะกาง (ภาคใต้), ชี่, ซี (ปราจีนบุรี), ดังข้าว (พังงา), ดังข้าวเม่า (ตรัง), ตูเบื้อง (ภูเก็ต), บาตู (มาเลย์-นราธิวาส), ปะดังขาว (สตูล), มะอึกค่าง (สุราษฎร์ธานี), สนั่น (ตราด), สำาเภา (ชลบ |
ชื่อสามัญ | - |
แหล่งอ้างอิง | - |
การใช้ประโยชน์ | 1.ใบอ่อน เป็นอาหาร 2.เนื้อไม้ ค่อนข้างแข็งใช้ในการก่อสร้างในร่ม และด้ามเครื่องมือ เครื่องใช้ |
สรรพคุณทางยา | - |
ต้น : ไม้ต้น
คำอธิบาย : ไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 14 เมตร
ลำต้น :
คำอธิบาย : -
ใบ : ใบประกอบ
คำอธิบาย : ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปไข่ ยาว 3.5-18.5 เซนติเมตร
ดอก : ดอกช่อ
คำอธิบาย : ดอกออกเป็นกระจุกหนาแน่น มีขนหยาบแข็ง ขนาดเล็กสีเขียวอมเหลือง ดอกเพศเมียใหญ่กว่าดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่กว้าง ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้มี 8 อัน เชื่อมติดกัน รังไข่มี 3 ช่อง ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน ยอดเกสรแยก 2 แฉก
ผล :
คำอธิบาย : ผลแห้งแตก สีเหลืองอมเขียว เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล มีขนแข็งหนาแน่น ปลายขนมีเงี่ยง เมล็ดรูปไข่ สีดำ มีเยื่อหุ้มสีแดงช่วงปลาย
ราก :
คำอธิบาย : -