ขี้หนอน (พันธุ์ไม้ปกปัก)

ขี้หนอน (พันธุ์ไม้ปกปัก)

ชื่อ ขี้หนอน (พันธุ์ไม้ปกปัก)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Chaetocarpus castanocarpus
Author name (Roxb.) Thwaites
ชื่อวงศ์ PERACEAE
ชื่ออื่นๆ ขี้หนอนขาว, อะกาง (ภาคใต้), ชี่, ซี (ปราจีนบุรี), ดังข้าว (พังงา), ดังข้าวเม่า (ตรัง), ตูเบื้อง (ภูเก็ต), บาตู (มาเลย์-นราธิวาส), ปะดังขาว (สตูล), มะอึกค่าง (สุราษฎร์ธานี), สนั่น (ตราด), สำาเภา (ชลบ
ชื่อสามัญ -
แหล่งอ้างอิง -
การใช้ประโยชน์ 1.ใบอ่อน เป็นอาหาร 2.เนื้อไม้ ค่อนข้างแข็งใช้ในการก่อสร้างในร่ม และด้ามเครื่องมือ เครื่องใช้
สรรพคุณทางยา -
ต้น
ลำต้น
ใบ
ดอก
ผล
ราก

ต้น : ไม้ต้น

คำอธิบาย : ไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 14 เมตร

ลำต้น :

คำอธิบาย : -

ใบ : ใบประกอบ

คำอธิบาย : ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปไข่ ยาว 3.5-18.5 เซนติเมตร

ดอก : ดอกช่อ

คำอธิบาย : ดอกออกเป็นกระจุกหนาแน่น มีขนหยาบแข็ง ขนาดเล็กสีเขียวอมเหลือง ดอกเพศเมียใหญ่กว่าดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่กว้าง ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้มี 8 อัน เชื่อมติดกัน รังไข่มี 3 ช่อง ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน ยอดเกสรแยก 2 แฉก

ผล :

คำอธิบาย : ผลแห้งแตก สีเหลืองอมเขียว เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล มีขนแข็งหนาแน่น ปลายขนมีเงี่ยง เมล็ดรูปไข่ สีดำ มีเยื่อหุ้มสีแดงช่วงปลาย

ราก :

คำอธิบาย : -

TOP